Search Result of "สุวิทย์ แสงทองพราว"

About 11 results
Img
Img

ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

New Apparently Records of Thai Macaranga (Euphorbiaceae)

ผู้แต่ง:ImgTeerawatananon, A., ImgMs.Sumon Masuthon, Associate Professor, ImgK. Chayamarit, ImgMr.Suvit Sangtongpraow, Assistant Professor,

วารสาร:

Img
Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา วิทยาศาสตร์

หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Comparison of Quadrat Sizes for Tree Denstiy Estimation in dry Evergreen Forest )

ผู้เขียน:ImgSondak Sukwong, Imgนายสุวิทย์ แสงทองพราว, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

การใช้วิธีสุ่มตัวอย่างเพื่อประมาณความหนาแน่นของพรรณไม้ในป่าโซนร้อนนั้นมีปัญหาหลายอย่าง ทั้งนี้เพราะป่าโซนร้อนประกอบด้วยพรรณไม้หลายชนิดและถึงแม้จะมีมากชนิดก็จริงแต่จำนวนต้นต่อชนิดมักมีน้อย นอกจากนี้แล้วพรรณไม้ชนิดที่สำคัญ ก็มักไม่ขึ้นอยู่อย่างสม่ำเสมอทั่วเนื้อที่ แต่ขึ้นอยู่เป็นกลุ่มหรือเป็นหย่อมๆ ด้วยเหตุนี้เองการใช้วิธีสุ่มตัวอย่างจึงเป็นเรื่องยุ่งยาก แปลงตัวอย่างหรือที่เรียกกันว่าแปลงควอแดรท (quadrat) ควรจะมีขนาดเท่าไร จึงจะมีประสิทธิภาพมากที่สุดในสถานการณ์เช่นนี้เป็นปัญหาที่สำคัญที่จะมองข้ามเสียมิได้ ขนาดและรูปร่างของแปลงตัวอย่างที่ควรใช้นั้นย่อมขึ้นอยู่กับความมากน้อยของการจับกลุ่มของพรรณพืช

Article Info
Agriculture and Natural Resources -- formerly Kasetsart Journal (Natural Science), Volume 008, Issue 1, Jan 74 - Jun 74, Page 5 - 9 |  PDF |  Page 

Img

ที่มา:วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท (จาก: บัณฑิตวิทยาลัย และ สำนักหอสมุด มก.)

หัวเรื่อง:Fagaceae in Southeastern Thailand

ผู้เขียน:Imgกนกอร บุญพา

ประธานกรรมการ:Imgนางสาวสุมน มาสุธน, รองศาสตราจารย์

กรรมการวิชาเอก:ImgChamlogn Phengklai

กรรมการวิชารอง:Imgนายสุวิทย์ แสงทองพราว, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract


Dissertation/Thesis Info
Abstract  (cache) |  Full text  (cache)  | Page  (Info)

Img

ที่มา:วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท (จาก: บัณฑิตวิทยาลัย และ สำนักหอสมุด มก.)

หัวเรื่อง:การกระจายและความหลากชนิดของไม้ยืนต้นตามระดับความเค็มของดินในป่าชายเลน จังหวัดตราด

ผู้เขียน:Imgวาณิชยา นิลวิเชียร

ประธานกรรมการ:Imgดร.ยงยุทธ ไตรสุรัตน์, ศาสตราจารย์

กรรมการร่วม:Imgนายสุวิทย์ แสงทองพราว, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

สื่อสิ่งพิมพ์:Library Collection

Img

ที่มา:วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท (จาก: บัณฑิตวิทยาลัย และ สำนักหอสมุด มก.)

หัวเรื่อง:ความคิดเห็นของผู้มาเยือนต่อระบบป้ายสื่อความหมายธรรมชาติและเส้นทางศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน วนอุทยานปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ผู้เขียน:ImgPaphada SUEBPLAI

ประธานกรรมการ:ImgPhatchanuch Wongwathana Foster

กรรมการร่วม:Imgนายสุวิทย์ แสงทองพราว, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

สื่อสิ่งพิมพ์:Library Collection

Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา วิทยาศาสตร์

หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Annual Ring Analysis of Tamarindus indica Linn. As Indicator of Lead Increasing in Road Enviroment)

ผู้เขียน:Imgสุวิทย์ แสงทองพราว

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

Lead in the road environment is spread almost exclusively by cars. Yearly increasing of traffic intensity will result in yearly increasing of lead accumulation in the road and adjacent areas. This study was taken to determine if Tamarindus indica Linn. Grown beside Rajdamnoen Nai road for many years, would reflect the higher lead accumulation in the successive annual rings; whether lead content in the annual rings could serve as biological indicator of lead in creasing in the road environment; and whether the variation in width of annual growth rings could constitute a rainfall almanac. Two tree samples of T. indica of at least 74 years old and 56.2 and 53.4 cm. in dimeter, were sawn off at 1.30 m. above ground level into two disks. The lead content of successive annual rings which covered 25 years from 1953-1977 was determined using dry ashing method and wet digestion in a mixture of nitric acid and perchloric acid. Analyses were made with an atomic absorption apectrophotometer. The variation in width of annual rings was measured employing cross-dating method. The fourth radius of the tree trunk which faced the road, showed the variation of lead content in the annual rings around 1.3-2.9 ppm. [dry weight] from 1953-1972. After 1972, lead level in the annual rings increased remarkably from 2.4 to 7.6 ppm. For the period 1953-1977, five year segments of more recently formed annual rings had a higher lead content than older ones. Hence, lead content in the annual rings of T. indica may serve as biological indicator of lead increasing in the road environment. However, many processes governing the radial transportation and deposition of lead within trees are poorly understood. The variation in width of growth rings which cover the period 1938-1977, could not constitute trees, crown pruning and the tree species.

Article Info
Agriculture and Natural Resources -- formerly Kasetsart Journal (Natural Science), Volume 014, Issue 1, Jan 80 - Jun 80, Page -  |  PDF |  Page 

Img
Img

งานวิจัย

ความหลากหลายของพืชให้กลิ่นหอมและเครื่องเทศในประเทศไทย (2006)

หัวหน้าโครงการ:Imgดร.ดวงใจ ศุขเฉลิม, รองศาสตราจารย์

แหล่งทุน:ทุนอุดหนุนวิจัยมก.

ผลลัพธ์:ประชุมวิชาการ (3)

Img